fbpx

รวม 10 ตู้เชื่อมไฟฟ้า ยี่ห้อไหนดี ใช้งานง่าย ทั้งงานหนักงานเบา ปี 2023

Share:

ตู้เชื่อมไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ช่างที่มีความสำคัญอย่างมากในการเชื่อมโลหะ ไม่ว่าจะเชื่อมงานเล็ก ๆ น้อย ๆ ในบ้าน หรือเชื่อมงานขนาดใหญ่ ๆ ในงานอุตสาหกรรม ตู้เชื่อมไฟฟ้าก็ล้วนมีความสำคัญทั้งสิ้น ในปัจจุบันมีตู้เชื่อมไฟฟ้าให้เลือกมากมายหลายยี่ห้อ หลายรุ่น แต่ละยี่ห้อก็มีจุดเด่นและราคาที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้นการเลือกซื้อตู้เชื่อมไฟฟ้าจึงเป็นเรื่องที่ควรพิจารณาให้ดี เพื่อให้ได้ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่เหมาะกับการใช้งานและงบประมาณ สำหรับบทความนี้ Our Suggest เราจะมาแนะนำ 10 ตู้เชื่อมไฟฟ้า ยี่ห้อไหนดี ใช้งานง่าย ทั้งงานหนักงานเบา ปี 2023 โดยพิจารณาจากปัจจัยต่าง ๆ เช่น กำลังไฟ ฟังก์ชันการใช้งาน และความคุ้มค่า จะมียี่ห้อไหนน่าสนใจกันบ้าง ติดตามกันได้เลย

InnTech รุ่น INT-990S

ZARD รุ่น MMA-650S

FALCON MAX MIG 200

kende รุ่น in-295

MASAKI รุ่น TIG-800

VERGIN MMA-650S

AUDEES MMA-650S

MOLITA รุ่น MMA-600

DELTON รุ่น DT-990S

Kanto รุ่น KT-IGBT-401

จุดเด่น

ระบบ Hot Start ที่สามารถเริ่มการใช้งานได้ง่าย

ให้ผลลัพท์ที่สวยงาม

ใช้ลวดขนาด 0.8-1.0 มม. ที่ใคร ๆ ก็เชื่อมได้

มีความปลอดภัยสูง

มีน้ำหนักเครื่องที่เบา

มีเทคโนยี่ ARC Force ให้กระแสไฟเสถียร

ระบบระบายความร้อน

เชื่อมเหล็กได้ทุกขนาดความหน้าตั้งแต่ 2.6 ถึง 4 มิล

มีหน้าจอ Dual Screen 2 หน้าจอ

สามารถเชื่อมเหล็กได้หลากหลาย

มีจอแสดงผล

ใช่

ใช่

ใช่

ใช่

ใช่

ใช่

ใช่

ใช่

ใช่

ใช่

กระแสไฟฟ้า

ไม่ระบุ

20 – 220 Amp

200 Amp

20 - 200 Amp

20 – 800 Amp

650 Amp

650 Amp

600 Amp

ไม่ระบุ

20-400 Amp

ขนาดลวดเชื่อม

2.6 - 4 มม.

2.6 - 4 มม.

0.8 มม.

2.6 - 4 มม.

1.6 – 2.4 มม.

1.6 - 4 มม.

2.6 - 4 มม.

2.6 - 4 มม.

2.6 - 4.0 มม.

1.6 - 4.0 มม.

ความยาวสายเชื่อม

10 เมตร

10 เมตร

3 เมตร

5 เมตร

4 เมตร

10 เมตร

ไม่มีะบุ

1.5 เมตร

10 เมตร

1.8 เมตร

สี

ส้ม

ส้ม

ดำ

เทาแดง

น้ำเงิน

ส้ม

แดง

เหลือง

ดำ

ขาว

ราคาเริ่มต้น

1,290 บาท

1,414 บาท

17,900 บาท

4,186 บาท

3,385 บาท

1,350 บาท

1,458 บาท

873 บาท

1,279 บาท

1,404 บาท

ซื้อได้ที่/ติดต่อ

ทำความรู้จักกับตู้เชื่อมไฟฟ้า

ทำความรู้จักกับตู้เชื่อมไฟฟ้า

ตู้เชื่อมไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ไฟฟ้าในการเชื่อมโลหะเข้าด้วยกัน โดยใช้ความร้อนจากอาร์คไฟฟ้าที่เกิดจากขั้วไฟฟ้าและชิ้นงาน ทำให้โลหะละลายและหลอมรวมกัน ตู้เชื่อมไฟฟ้ามีหลากหลายประเภท ขึ้นอยู่กับชนิดของกระแสไฟฟ้าที่ใช้ และวิธีการเชื่อม ในปัจจุบัน ตู้เชื่อมไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในหลากหลายวงการ ไม่ว่าจะเป็นงานช่างทั่วไป งานก่อสร้าง งานซ่อมแซม ไปจนถึงงานอุตสาหกรรม

 

หลักการทำงานของตู้เชื่อมไฟฟ้า

หลักการทำงานของตู้เชื่อมไฟฟ้า

ตู้เชื่อมไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมโลหะเข้าด้วยกันโดยใช้ความร้อนที่เกิดจากการอาร์กของไฟฟ้า ตู้เชื่อมไฟฟ้ามีหลักการทำงานดังนี้

  • รับกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟ: ตู้เชื่อมไฟฟ้าจะรับกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟ ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) หรือไฟฟ้ากระแสตรง (DC) ขึ้นอยู่กับชนิดของตู้เชื่อม
  • แปลงกระแสไฟฟ้า: ตู้เชื่อมไฟฟ้าจะทำการแปลงกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟให้เป็นกระแสไฟฟ้าที่เหมาะสมสำหรับการเชื่อม โดยทั่วไปตู้เชื่อมไฟฟ้าจะแปลงกระแสไฟฟ้าให้เป็นกระแสไฟฟ้ากระแสตรง
  • สร้างอาร์กไฟฟ้า: ตู้เชื่อมไฟฟ้าจะสร้างอาร์กไฟฟ้าระหว่างปลายสายเชื่อมกับชิ้นงานที่ต้องการเชื่อม อาร์กไฟฟ้าจะทำให้เกิดความร้อนสูงที่บริเวณปลายสายเชื่อมและชิ้นงาน ความร้อนนี้จะทำให้โลหะของปลายสายเชื่อมและชิ้นงานหลอมละลายรวมกัน
  • ควบคุมกระแสไฟฟ้า: ตู้เชื่อมไฟฟ้าจะควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านอาร์กไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านอาร์กไฟฟ้าจะส่งผลต่อขนาดของบ่อหลอมละลายและลักษณะของแนวเชื่อม
  • ป้องกันอันตราย: ตู้เชื่อมไฟฟ้าจะมีระบบป้องกันอันตรายต่างๆ เช่น ระบบป้องกันการลัดวงจร ระบบป้องกันความร้อนสูงเกิน เป็นต้น

 

เลือกตู้เชื่อมไฟฟ้า ต้องพิจารณาอะไรบ้าง

เลือกตู้เชื่อมไฟฟ้า ต้องพิจารณาอะไรบ้าง

อย่างที่กล่าวไปตู้เชื่อมไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้กระแสไฟฟ้าในการสร้างอาร์กไฟฟ้าเพื่อเชื่อมโลหะเข้าด้วยกัน โดยมีหลายประเภทและคุณสมบัติที่แตกต่างกันออกไป การเลือกตู้เชื่อมไฟฟ้าจึงเป็นเรื่องสำคัญ เพื่อให้ได้ตู้เชื่อมที่ตรงกับความต้องการและใช้งานได้ง่าย

ประเภทของตู้เชื่อมไฟฟ้า

ตู้เชื่อมไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 4 ประเภทหลัก ๆ ได้แก่

  • ตู้เชื่อมแบบ MMA ใช้ลวดเชื่อมแบบธูปเชื่อม เหมาะสำหรับงานเชื่อมทั่วไป เช่น งานโครงสร้างเหล็ก งานซ่อมแซม เป็นต้น
  • ตู้เชื่อมแบบ MIG/MAG ใช้ลวดเชื่อมแบบฟลักซ์โค้ต หรือลวดเชื่อมแบบแก๊ส เหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะบาง เช่น งานเชื่อมอะลูมิเนียม เป็นต้น
  • ตู้เชื่อมแบบ TIG ใช้ลวดเชื่อมแบบฟลักซ์โค้ต หรือลวดเชื่อมแบบแก๊ส เหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะหนา เช่น งานเชื่อมสแตนเลส เป็นต้น
  • ตู้เชื่อมแบบ Plasma ใช้แก๊สพลาสมาในการเชื่อมโลหะ เหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะบาง เช่น งานเชื่อมท่อ เป็นต้น

กระแสไฟฟ้า

กระแสไฟฟ้าที่ใช้เชื่อมโลหะมีหน่วยเป็นแอมป์ (A) ตู้เชื่อมไฟฟ้าแต่ละประเภทมีช่วงกระแสไฟฟ้าที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปแล้ว ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้าสูงจะเหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะหนา ในขณะที่ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้าต่ำจะเหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะบาง

แรงดันไฟฟ้า

แรงดันไฟฟ้าที่ใช้เชื่อมโลหะมีหน่วยเป็นโวลต์ (V) ตู้เชื่อมไฟฟ้าแต่ละประเภทมีช่วงแรงดันไฟฟ้าที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปแล้ว ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าสูงจะเหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะหนา ในขณะที่ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าต่ำจะเหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะบาง

น้ำหนัก

ตู้เชื่อมไฟฟ้ามีน้ำหนักตั้งแต่ไม่กี่กิโลกรัมไปจนถึงหลายสิบกิโลกรัม ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่มีน้ำหนักเบาจะสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายและใช้งาน เหมาะสำหรับมือใหม่

 

คัดมาให้แล้วกับ 10 ตู้เชื่อมไฟฟ้า ยี่ห้อไหนดี ใช้งานง่าย ทั้งงานหนักงานเบา มือใหม่ห้ามพลาด ปี 2023!

ในปัจจุบัน ตู้เชื่อมไฟฟ้ามีให้เลือกมากมายหลายยี่ห้อและหลายรุ่น แต่ละรุ่นก็มีจุดเด่นและคุณสมบัติที่แตกต่างกันไป การเลือกซื้อตู้เชื่อมไฟฟ้าจึงเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิจารณาให้ดี เพื่อให้ได้ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่เหมาะกับการใช้งานของคุณ

สำหรับมือใหม่ที่กำลังมองหาตู้เชื่อมไฟฟ้าดีๆ สักเครื่อง หัวข้อนี้ได้รวบรวมข้อมูลของตู้เชื่อมไฟฟ้า 10 อันดับ ตู้เชื่อมไฟฟ้า ยี่ห้อไหนดี ใช้งานง่าย ทั้งงานหนักงานเบา มาฝากกัน เอาล่ะ เกริ่นนำกันมาพอสมควรแล้ว เดี๋ยวเราไปดูรายละเอียดของตู้เชื่อมไฟฟ้าแต่ล่ะรุ่นกันดีกว่า

1.InnTech รุ่น INT-990S

InnTech รุ่น INT-990S

จุดเด่น

ระบบ Hot Start ที่สามารถเริ่มการใช้งานได้ง่าย

มีจอแสดงผล

ใช่

กระแสไฟฟ้า

20 – 220 Amp

ขนาดลวดเชื่อม

2.6 – 4 มม.

ความยาวสายเชื่อม

10 เมตร

สี

ส้ม

ราคาเริ่มต้น

1,414 บาท

ซื้อได้ที่/ติดต่อ

ตู้เชื่อม InnTech รุ่น INT-990S อินเวอร์เตอร์ MMA-990S เป็นตู้เชื่อมที่มาพร้อมเทคโนโลยีจากญี่ปุ่น มาในรูปแบบ 2in1 ที่ไม่เพียงแต่เชื่อมได้เท่านั้น ยังสามารถใช้เป็นพาวเวอร์แบงค์ในตัวได้อีกด้วย ซึ่งยังมีช่องเสียบ USB สำหรับชาร์จอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ นอจากนี้ยังมีหน้าจอแสดงผลแบบ Dual Screen กับฟังก์ชั่นการใช้งานที่หลากหลาย ด้วยระบบ Hot Start ที่สามารถเริ่มการใช้งานได้ง่ายและสะดวกสบาย อีกทั้งยังมี ARC Force ช่วยป้องกันปัญหาไฟกระชาก เพื่อความปลอดภัยในการใช้งาน และด้วยเคสกันกระแทก ตู้เชื่อมนี้พร้อมมอบประสบการณ์การเชื่อมที่ยอกเยี่ยมและคุณภาพที่ทนทานต่อการใช้งาน

2. ZARD รุ่น MMA-650S

ZARD รุ่น MMA-650S

จุดเด่น

ให้ผลลัพท์ที่สวยงาม

มีจอแสดงผล

ใช่

กระแสไฟฟ้า

ไม่ระบุ

ขนาดลวดเชื่อม

2.6 – 4 มม.

ความยาวสายเชื่อม

10 เมตร

สี

ส้ม

ราคาเริ่มต้น

1,290 บาท

ซื้อได้ที่/ติดต่อ

ตู้เชื่อม Zard รุ่น MMA-650s เป็นตู้เชื่อมไฟฟ้าบอดใหญ่ มีมาตราฐานจากอิตาลี่ ไม่ว่าจะหน้าจอคู่หรือปุ่มควบคุม 3 ปุ่ม เพื่อปรับเปลี่ยนการใช้งานได้ตามความต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเชื่อมง่ายและรวดเร็วมาก ด้วยระบบ Hot Start และ ARC Force ที่จะให้การเริ่มงานเสถียรและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งรอยเชื่อมของคุณก็จะเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ให้ผลลัพท์ที่สวยงาม ทั้งยังมีระบบระบายความร้อนที่ช่วยให้การทำงานสามารถใช้งานได้นานมากยิ่งขึ้น

3. FALCON MAX MIG 200

FALCON MAX MIG 200

จุดเด่น

ใช้ลวดขนาด 0.8-1.0 มม. ที่ใคร ๆ ก็เชื่อมได้

มีจอแสดงผล

ใช่

กระแสไฟฟ้า

200 Amp

ขนาดลวดเชื่อม

0.8 มม.

ความยาวสายเชื่อม

3 เมตร

สี

ดำ

ราคาเริ่มต้น

17,900 บาท

ซื้อได้ที่/ติดต่อ

ตู้เชื่อม FALCON MAX MIG 200 จัดว่าเป็นคู่ใจสำหรับคนที่ชื่นชอบการเชื่อม ด้วยกระแสไฟ 200 แอมป์ และการใช้ลวดขนาด 0.8-1.0 มม. ที่ใคร ๆ ก็เชื่อมได้ ให้ประสบการณ์ทีเหมือนมืออาชีพ โดยไม่ต้องกังวลว่าลวดจะติดหรืองานจะทะลุ ด้วยเทคโนโลยี Linear System ทำให้การปรับตั้งค่าการทำงานของตัวเรื่องเป็นเรื่องง่าย ทั้งยังมี Soft Start ให้ไม่ต้อกังวลเรื่องลวดติดอีกต่อไป การเชื่อมด้วย Falcon MAX MIG 200 คุณจะรู้สึกสนุกและทุ่มเทกว่าเดิม

4. kende รุ่น in-295

kende รุ่น in-295

จุดเด่น

มีความปลอดภัยสูง

มีจอแสดงผล

ใช่

กระแสไฟฟ้า

20 – 200 Amp

ขนาดลวดเชื่อม

2.6 – 4 มม.

ความยาวสายเชื่อม

5 เมตร

สี

เทาแดง

ราคาเริ่มต้น

4,186 บาท

ซื้อได้ที่/ติดต่อ

ตู้เชื่อม kende รุ่น in-295 แบบ MMA เป็นอุปกรณ์ที่ไม่ควรมองข้ามสำหรับผู้ต้องการเครื่องมือเชื่อมที่ทั้งมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยสูง มาพร้อมกับแอมป์ 200 แอมป์ ที่ใช้เทคโนโลยี IGBT อินเวอร์เตอร์ ประหยัดพลังงานแต่ยังคงคุณภาพการเชื่อมได้ดี ด้านความทนทาน ตู้เชื่อมยี่ห้อนี้ออกแบบมาอย่างดีทั้งในเรื่องของการกันน้ำ กันฝุ่น และแมลง ซึ่งเป็นสาเหตุหลัก ๆ ที่เครื่องส่วนใหญ่จะเสียหายง่าย และเมื่อกระแสไฟตกถึง 100 โวลต์ ตู้เชื่อมนี้ก็ยังคงทำงานได้ ไม่หยุด อีกทั้งยังมีระบบป้องกันไฟกระชาก ที่จะช่วยให้คุณใช้งานอย่างต่อเนื่อง โดยไม่ต้องกังวลเรื่องความปลอดภัย

5. MASAKI รุ่น TIG-800

MASAKI รุ่น TIG-800

จุดเด่น

มีน้ำหนักเครื่องที่เบา

มีจอแสดงผล

ใช่

กระแสไฟฟ้า

20 – 800 Amp

ขนาดลวดเชื่อม

1.6 – 2.4 มม.

ความยาวสายเชื่อม

4 เมตร

สี

น้ำเงิน

ราคาเริ่มต้น

3,385 บาท

ซื้อได้ที่/ติดต่อ

ตู้เชื่อม MASAKI รุ่น TIG-800 เป็นอีกหนึ่งตัวเลือกสำหรับผู้ที่ชอบการเชื่อมวัสดุต่าง ๆ ในครั้งนี้ ตัวเครื่องมากับความสามารถในการเชื่อมวัสดุหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นเหล็ก สแตนเลส หรือแม้กระทั่งไททาเนียมก็สามารถชื่อมได้ ทำให้มีความหลากหลาย ทุก ๆ งานเชื่อมสามารถครบจบในตัวเครื่องเดียว ความน่าสนใจอีกหนึ่งอย่างของตู้เชื่อมไฟฟ้ายี่ห้อนี้คือ น้ำหนักเครื่องที่เบา ทำให้คุณสามารถยกย้ายเครื่องไปมาได้อย่างสะดวกสบาย

6. VERGIN MMA-650S

VERGIN MMA-650S

จุดเด่น

มีเทคโนยี่ ARC Force ให้กระแสไฟเสถียร

มีจอแสดงผล

ใช่

กระแสไฟฟ้า

650 Amp

ขนาดลวดเชื่อม

1.6 – 4 มม.

ความยาวสายเชื่อม

10 เมตร

สี

ส้ม

ราคาเริ่มต้น

1,350 บาท

ซื้อได้ที่/ติดต่อ

ตู้เชื่อม VERGIN MMA-650S ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพการทำงานสูง ช่างเชื่อมเหล็กทุกคนควรพลาด ด้วยเทคโนโลยีอินเวอร์เตอร์จากญี่ปุ่น และระบบ Hot Start ที่ให้เริ่มการใช้งานได้ขึ้น นอกจากนี้ยังมากับปุ่มควบคุม 3 ปุ่ม เพื่อการปรับเปลี่ยนการทำงานให้ตรงกับความต้องการของคุณ ทั้งยังมีเทคโนยี่ ARC Force ให้กระแสไฟเสถียร เพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพ สำหรับผู้ที่ต้องการความสะดวกสบายในการเชื่อมวัสดุตู้เชื่อมยี่ห้อ VERGIN MMA-650S เป็นอีกตัวเลือกที่น่าสนใจ

7. AUDEES MMA-650S

AUDEES MMA-650S

จุดเด่น

ระบบระบายความร้อน

มีจอแสดงผล

ใช่

กระแสไฟฟ้า

650 Amp

ขนาดลวดเชื่อม

2.6 – 4 มม.

ความยาวสายเชื่อม

ไม่มีะบุ

สี

แดง

ราคาเริ่มต้น

1,458 บาท

ซื้อได้ที่/ติดต่อ

ตู้เชื่อม AUDEES MMA-650S ตู้เชื่อมไฟฟ้าคู่ใจของช่างหลายคน โดยเครื่องนี้มีเทคโนโลยี ARC FORCE ที่เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้เป็นไปอย่างราบรื่น ด้วยขนาดกระทัดรัดทำให้สามารถพกพาไปไหรมาไหนได้อย่างสะดวกสบาย นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยี INVERTER ที่ให้งานเชื่อมเป็นเรื่องง่าย ประหยัดพลังงาน และมีอายุการใช้งานที่ยืนยาว อีกทั้งยังมีระบบระบายความร้อนที่ให้วามารถเชื่อมได้ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

8. MOLITA รุ่น MMA-600

MOLITA รุ่น MMA-600

จุดเด่น

เชื่อมเหล็กได้ทุกขนาดความหน้าตั้งแต่ 2.6 ถึง 4 มิล

มีจอแสดงผล

ใช่

กระแสไฟฟ้า

600 Amp

ขนาดลวดเชื่อม

2.6 – 4 มม.

ความยาวสายเชื่อม

1.5 เมตร

สี

เหลือง

ราคาเริ่มต้น

873 บาท

ซื้อได้ที่/ติดต่อ

ตู้เชื่อม MOLITA รุ่น MMA-600 ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่มาพร้อมระบบ ARC FORCE ช่วยในการปรับกระแสเชื่อมอัตโนมัติ แม้งานหนัก ๆ ก็ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมเหล็กได้ทุกขนาดความหน้าตั้งแต่ 2.6 ถึง 4 มิล โดยไร้ความกังวลกับกระแสไฟ 600 แอมป์ที่แรงทน ด้วยขนาดตู้เชื่อมที่กะทัดรัดทำให้สามารถพกพาไปไหนมาไหนได้อย่างสะดวกสบาย อีกทั้งยังมาพร้อมพัดลมระบายความร้อน การใช้งานนาน ๆ ต่อเนื่องทุก ๆ ครั้ง ไม่ทำให้เครื่องเสื่อมสภาพเร็วและเสียได้ง่าย

9. DELTON รุ่น DT-990S

DELTON รุ่น DT-990S

จุดเด่น

มีหน้าจอ Dual Screen 2 หน้าจอ

มีจอแสดงผล

ใช่

กระแสไฟฟ้า

ไม่ระบุ

ขนาดลวดเชื่อม

2.6 – 4.0 มม.

ความยาวสายเชื่อม

10 เมตร

สี

ดำ

ราคาเริ่มต้น

1,279 บาท

ซื้อได้ที่/ติดต่อ

ตู้เชื่อม DELTON รุ่น DT-990S อินเวอร์เตอร์ IGBT แบบ MMA ตู้เชื่อมที่มาพร้อมฟังก์ชั่น 2in1 โดยเป็นเครื่องเชื่อมและพร้อมพาวเวอร์แบงค์ พัฒนามาเพื่อคุณภาพการเชื่อมที่มีประสิทธิภาพสูง ทำให้คุณชาร์จอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่าน USB ได้ ซึ่งมีมาให้ 2 ช่อง นอกจากนี้ยังมีหน้าจอ Dual Screen 2 หน้าจอ ให้การเชื่อมง่ายขึ้น ด้วยการแสดงข้อมูลแบบชัดเจน อีกท้ังตู้เชื่อมรุ่นนี้ยังเชื่อมนิ่มด้วยระบบ ARC Force ทำให้เมื่อไม่ตกตัวเครื่องก็สามรถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ

10. Kanto รุ่น KT-IGBT-401

DELTON รุ่น DT-990S

จุดเด่น

สามารถเชื่อมเหล็กได้หลากหลาย

มีจอแสดงผล

ใช่

กระแสไฟฟ้า

20-400 Amp

ขนาดลวดเชื่อม

1.6 – 4.0 มม.

ความยาวสายเชื่อม

1.8 เมตร

สี

ขาว

ราคาเริ่มต้น

1,404 บาท

ซื้อได้ที่/ติดต่อ

ตู้เชื่อม Kanto รุ่น KT-IGBT-401 เป็นตู้เชื่อมแบบ MMA ที่จะทำให้ช่างหลายคนถูกใจ ด้วยแรงดันไฟสูง ทนทาน คุณสามารถเชื่อมได้ดี มาพร้อมกับระบบ ARC FORCE ใช้ปรับเพื่อป้องกันลวดเชื่อมติดขณะเชื่อม นอกจากนี้ยังสามารถเชื่อมเหล็กได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นสแตนเลสหรือเหล็กขนาดต่าง ๆ ก็สามารถเชื่อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับใครที่ต้องการความเรียบง่ายและสะดวกสบายในการเชื่อมเหล็กเราขอแนะนำตู้เชื่อม Kanto KT-IGBT-401 ที่จะทำให้ทุกงานเชื่อมกลายเป็นเรื่องสบาย

 

ตู้เชื่อมไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ไฟฟ้าในการเชื่อมโลหะเข้าด้วยกัน โดยใช้ความร้อนจากอาร์คไฟฟ้าที่เกิดจากขั้วไฟฟ้าและชิ้นงาน ทำให้โลหะละลายและหลอมรวมกัน ตู้เชื่อมไฟฟ้ามีหลากหลายประเภท ขึ้นอยู่กับชนิดของกระแสไฟฟ้าที่ใช้ และวิธีการเชื่อม ในปัจจุบัน ตู้เชื่อมไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในหลากหลายวงการ ไม่ว่าจะเป็นงานช่างทั่วไป งานก่อสร้าง งานซ่อมแซม ไปจนถึงงานอุตสาหกรรม

  • รับกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟ: ตู้เชื่อมไฟฟ้าจะรับกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟ ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) หรือไฟฟ้ากระแสตรง (DC) ขึ้นอยู่กับชนิดของตู้เชื่อม
  • แปลงกระแสไฟฟ้า: ตู้เชื่อมไฟฟ้าจะทำการแปลงกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟให้เป็นกระแสไฟฟ้าที่เหมาะสมสำหรับการเชื่อม โดยทั่วไปตู้เชื่อมไฟฟ้าจะแปลงกระแสไฟฟ้าให้เป็นกระแสไฟฟ้ากระแสตรง
  • สร้างอาร์กไฟฟ้า: ตู้เชื่อมไฟฟ้าจะสร้างอาร์กไฟฟ้าระหว่างปลายสายเชื่อมกับชิ้นงานที่ต้องการเชื่อม อาร์กไฟฟ้าจะทำให้เกิดความร้อนสูงที่บริเวณปลายสายเชื่อมและชิ้นงาน ความร้อนนี้จะทำให้โลหะของปลายสายเชื่อมและชิ้นงานหลอมละลายรวมกัน
  • ควบคุมกระแสไฟฟ้า: ตู้เชื่อมไฟฟ้าจะควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านอาร์กไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านอาร์กไฟฟ้าจะส่งผลต่อขนาดของบ่อหลอมละลายและลักษณะของแนวเชื่อม
  • ป้องกันอันตราย: ตู้เชื่อมไฟฟ้าจะมีระบบป้องกันอันตรายต่างๆ เช่น ระบบป้องกันการลัดวงจร ระบบป้องกันความร้อนสูงเกิน เป็นต้น
  • ประเภทของตู้เชื่อมไฟฟ้า
    – ตู้เชื่อมแบบ MMA ใช้ลวดเชื่อมแบบธูปเชื่อม เหมาะสำหรับงานเชื่อมทั่วไป เช่น งานโครงสร้างเหล็ก งานซ่อมแซม เป็นต้น
    – ตู้เชื่อมแบบ MIG/MAG ใช้ลวดเชื่อมแบบฟลักซ์โค้ต หรือลวดเชื่อมแบบแก๊ส เหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะบาง เช่น งานเชื่อมอะลูมิเนียม เป็นต้น
    – ตู้เชื่อมแบบ TIG ใช้ลวดเชื่อมแบบฟลักซ์โค้ต หรือลวดเชื่อมแบบแก๊ส เหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะหนา เช่น งานเชื่อมสแตนเลส เป็นต้น
    – ตู้เชื่อมแบบ Plasma ใช้แก๊สพลาสมาในการเชื่อมโลหะ เหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะบาง เช่น งานเชื่อมท่อ เป็นต้น
  • กระแสไฟฟ้า
    กระแสไฟฟ้าที่ใช้เชื่อมโลหะมีหน่วยเป็นแอมป์ (A) ตู้เชื่อมไฟฟ้าแต่ละประเภทมีช่วงกระแสไฟฟ้าที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปแล้ว ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้าสูงจะเหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะหนา ในขณะที่ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้าต่ำจะเหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะบาง
  • แรงดันไฟฟ้า
    แรงดันไฟฟ้าที่ใช้เชื่อมโลหะมีหน่วยเป็นโวลต์ (V) ตู้เชื่อมไฟฟ้าแต่ละประเภทมีช่วงแรงดันไฟฟ้าที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปแล้ว ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าสูงจะเหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะหนา ในขณะที่ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าต่ำจะเหมาะสำหรับงานเชื่อมโลหะบาง
  • น้ำหนัก
    ตู้เชื่อมไฟฟ้ามีน้ำหนักตั้งแต่ไม่กี่กิโลกรัมไปจนถึงหลายสิบกิโลกรัม ตู้เชื่อมไฟฟ้าที่มีน้ำหนักเบาจะสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายและใช้งาน เหมาะสำหรับมือใหม่
Related Suggest
รวมมาให้แล้วกับ 7 คลินิก แก้กล้ามเนื้อตาอ่อนแรง ที่ไหนดี ปี 2024!

รวมมาให้แล้วกับ 7 คลินิก แก้กล้ามเนื้อตาอ่อนแรง ที่ไหนดี ปี 2024!

กล้ามเนื้อหนังตาอ่อนแรงนั้นไม่ใช่แค่เรื่องของความสวยงาม แต่ยังกระทบกับชีวิตประจำวันอีกด้วย ใครเป็นแต่ไม่รู้ว่าจะแก้ที่ไหนดี เรามีคำตอบ

Continue reading

แนะนำ 5 บัตรกดเงินสดเงินเดือน 12000 เอกสารน้อย อนุมัติง่าย ปี 2024

แนะนำ 5 บัตรกดเงินสดเงินเดือน 12,000 เอกสารน้อย อนุมัติง่าย ปี 2024

เงินเดือน 12,000 บาท ก็มีสิทธิ์สมัครบัตรกดเงินสดไว้ใช้ยามฉุกเฉินได้! บทความนี้เราขอแนะนำ 5 บัตรกดเงินสดเงินเดือน 12000 สมัครง่าย เอกสารน้อย อนุมัติไว ปี 2024!

Continue reading

รวม 5 เครื่องไล่ยุงไฟฟ้า ยี่ห้อไหนดี สยบยุงหายเรียบ ปี 2024!

รวม 5 เครื่องไล่ยุงไฟฟ้า ยี่ห้อไหนดี สยบยุงหายเรียบ ปี 2024!

ยุงสัตว์ตัวเล็กกวนใจที่สร้างทั้งความรำคาญ และโรคร้าย มากำจัดด้วยเครื่องไล่ยุงไฟฟ้ากัน ยี่ห้อไหนดี ไล่ยุงได้จริงบ้าง มาดูกัน

Continue reading

Categories
Technology

อุปกรณ์ไอที, PC, โน๊ตบุ๊ค

Keyboard

คีย์บอร์ด

Smart Phone

โทรศัพท์มือถือ

Smart Home

บ้านอัจฉริยะ

Gadget

เก็ตเจ็ต

Wellness

สุขภาพ และความงาม

Clinic

คลีนิก

Hospital

โรงพยาบาล

Health

สุขภาพร่างกาย

Supplementary

อาหารเสริม

Medical Equipment

อาหาร และยา

Beauty

เครื่องสำอาง

Food

อาหาร

Convenience Food

อาหารสะดวกซื้อ

Fashion

เสื้อผ้า

Accessories

สร้อย, แหวน, กระเป๋า, อื่นๆ

Book

หนังสือ

Games

เกมส์

Home and Garden

บ้าน และสวน

Pet

สัตว์เลี้ยง

Insurance

ประกันภัย

Real Estate

บ้าน, คอนโด, ที่พักอาศัย

Kids

เด็ก

Vehicle

รถยนต์

Wristwatch

นาฬิกา

Furniture

เฟอร์นิเจอร์

DIY

ข้าวของเครื่องใช้,
สิ่งประดิษฐ์

Hotel

โรงแรมที่พัก

Travel

ท่องเที่ยว

Language Institute

สถาบันสอนภาษา

Dairy Product

ผลิตภัณฑ์นม

Houseware

เครื่องใช้ภายในบ้าน

Luandry

ซักรีด

Kitchenware

เครื่องใช้ในครัว

Personalcare

ผลิตภัณฑ์ดูแลตัวเอง

Program

โปรแกรม